รีวิว ASUSTOR NAS Flashstor 12 Pro FS6712x รองรับ M.2 NVMe SSD สูงสุด 12 ตัว และรองรับ10 Gbps Network

Published on August 24, 2023
รีวิว ASUSTOR NAS Flashstor 12 Pro FS6712x รองรับ M.2 NVMe SSD สูงสุด 12 ตัว และรองรับ10 Gbps Network

ASUSTOR NAS Flashstor 12 Pro FS6712x เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลแบบ Network-Attached Storage (NAS)ที่ใช้ชิปประมวลผล Intel 10 nm Quad-Core Celeron N5105 RAM DDR4-2933 รองรับ M.2 NVMe SSD สูงสุด 12 ตัว และรองรับระบบเครือข่าย 10GbE อุปกรณ์ดังกล่าวอาจมีคุณสมบัติและฟังก์ชั่นต่าง ๆ ที่ช่วยในการจัดการข้อมูล แชร์ข้อมูลผ่านเครือข่ายภายในองค์กรหรือกลุ่มงาน โดยไม่จำเป็นต้องพึ่งพาบริการคลาวด์เพื่อเก็บข้อมูล

สเปกเครื่อง

  • Quad-Core 10 nm Intel Celeron N5105 CPU
  • 12x M.2 NVMe slots
  • Megafast 10-Gigabit Ethernet
  • 4 GB of fast and efficient DDR4-2933 RAM
  • Dual USB 3.2 Gen 2×1
  • HDMI 2.0b
  • S/PDIF output for amazing sound quality
  • Smooth 4K hardware transcoding
  • Supports Wake on LAN

 

ASUSTOR NAS Flashstor 12 Pro FS6712x

 

ซึ่งทางเราได้นำมาใช้งานด้านเก็บข้อมูลแบบ Network-Attached Storage (NAS) ใส่ NVMe M.2 SSD 12 ตัวเต็มช่องกันเลยทีเดียว สำหรับ NAS รุ่นนี้ได้นำ SSD ชนิด NVMe M.2 SSD ทีมีความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลกว่า SATA  อยู่ 25 เท่า งานนี้ใส่ 12 ตัว และทำเป็น RAID 6

 

ASUSTOR NAS Flashstor 12 Pro FS6712x1

 

ขั้นตอนการติดตั้ง NVMe M.2 SSD

 

ASUSTOR NAS Flashstor 12 Pro FS6712x4

ทำการใส่ NVMe M.2 SSD 6 ตัวด้านหลังเครื่อง

ASUSTOR NAS Flashstor 12 Pro FS6712x6

 

ทำการใส่ NVMe M.2 SSD 6 ตัวด้านหน้าเครื่อง และอาจจะเพิ่มแรมได้เช่นกัน แรมที่มากับเครื่องจะได้ 4 GB  DDR4-2933 RAM

 

การติดตั้งระบบ ASUSTOR NAS

เป็นกระบวนการที่ค่อนข้างง่ายและมีขั้นตอนพื้นฐานที่ต้องทำ เพื่อให้คุณสามารถเริ่มต้นใช้งานอุปกรณ์ NAS ของคุณได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ

1. เชื่อมต่อสาย LAN กับอุปกรณ์ ASUSTOR NAS  

2. เปิดเครื่อง NAS โดยใช้สวิตช์หรือปุ่มเปิด/ปิดที่อุปกรณ์

–  IP Address ของ NAS ซึ่ง Ip address default นั้นจะเป็น DHCP

– จากนั้นคลิกโปรแกรม  ASUSTOR Control Center ที่รายการดังกล่าว ระบบจะนำคุณเข้าสู่หน้าเว็บเบราเซอร์ เพื่อติดตั้งระบบ NAS

 

ASUSTOR control center

 

3. ติดตั้งระบบ NAS

– เข้าสู่หน้าเว็บเบราเซอร์เพื่อติดตั้งระบบ NAS

ASUSTOR install

 

– จะแสดงข้อมูลเครื่อง จากนั้นคลิกปุ่มถัดไป

 

ASUSTOR install1

 

– เลือก Initialize you NAS  จากนั้นคลิกปุ่มถัดไป

 

ASUSTOR install2

 

– กรอกชื่อผู้ใช้งาน/รหัสผ่าน และเลือก  I confirm that I have read and understood the above  จากนั้นคลิกปุ่ม  Start initialization

 

ASUSTOR install3

 

– ระบบกำลังติดตั้ง

 

ASUSTOR install4

 

– ลงทะเบียน NAS

 

3. เข้าสู่ระบบ

– เมื่อเข้าสู่หน้าเว็บเบราเซอร์เพื่อตั้งค่า ให้ใส่ IP address  เครื่อง จากนั้นใส่ข้อมูลการเข้าสู่ระบบ ชื่อผู้ใช้งาน/รหัสผ่าน (เริ่มต้นด้วยข้อมูลที่ได้รับจากการตั้งค่าเริ่มต้นของเครื่อง)

 

ASUSTOR login

 

 

4. หน้าแดชบอร์ด

 

ASUSTOR Dashboard

 

 

บทความหน้าจะทำการสอนวิธีการตั้งค่าระบบ การทำRAID  NVMe  จนถึงการใช้งานจริงทั้งหมด ที่เราต้องใช้งานกัน

 

AVESTA  ให้บริการทั้งงานขายระบบ System , Networks  ติดตั้ง อัพเกรด Configure และอื่น ๆ หากท่านมีคำถามสามารถติดต่อเพื่อขอข้อมูลเกี่ยวกับการบริการของเราได้ตลอดเวลา ด้วยประสบการณ์ยาวนานนับสิบปี

Creating Proxmox VE Cluster

สำหรับ Proxmox VE นั้นแน่นอนว่าสนับสนุนการทำ Clustering ในตัวอยู่แล้วเพื่อทำให้ระบบมี การจัดการทรัพยากรของเซิร์ฟเวอร์หลายเครื่องได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพิ่มความสามารถในการสำรองข้อมูล, การย้ายเครื่องเสมือน (VM)...

Read more »

Updating ML30 Gen10 Firmware with ILOREST

แน่นอนว่าการอัพเดท firmware ของทั้ง BIOS และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดใน Server นั้นเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะว่า เพื่อความปลอดภัย และ...

Read more »

Switches เดสก์ท็อปสวิตช์ 10/100Mbps 10 ช่อง

แนะนำอุปกรณ์ใหม่ มาแรง ใช้งานง่าย! Switches อุปกรณ์ต่อพ่วง Network Computer เดสก์ท็อปสวิตช์ 10/100Mbps 10...

Read more »

how to apply license key on a Proxmox VE host

สำหรับวันนี้ เราจะมาสอนเรื่องการ Activate License Key สำหรับ Proxmox VE กัน ซึ่งแน่นอนว่า...

Read more »

configuring multiple VLANs in Proxmox VE

การกำหนด VLAN หลายตัว (Multiple VLAN) ใน Proxmox VE สำหรับการกำหนด VLAN...

Read more »

Verifying Files with MD5 Checksum

สำหรับการตรวจสอบความถูกต้องหรือความสมบูรณ์ของไฟล์เนี่ย ได้ทวีความสำคัญขึ้นมากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา เพราะภัยทางอินเตอร์เน็ตนั้นเยอะขึ้นมาก เพราะฉะนั้นหากคุณดาวน์โหลดไฟล์แล้วไม่ตรวจสอบค่า checksum เพื่อยืนยันความถูกต้องของผู้ผลิตไฟล์อีกที มันก็จะเป็นการเสี่ยงที่ท่านจะได้ไฟล์ซึ่งอาจจะมีโปรแกรมหรือสิ่งไม่พึงประสงค์ไปด้วย และ เทคโนโลยีในการตรวจสอบไฟล์นั้น ก็คือ...

Read more »