วิธีการตั้งค่า VLAN บนอุปกรณ์ TP-Link Smart Switch TP-SG105PE รุ่นจิ๋วมากด้วยความสามารถ ในราคาสบายกระเป๋า

Published on March 5, 2024
วิธีการตั้งค่า VLAN บนอุปกรณ์ TP-Link Smart Switch TP-SG105PE รุ่นจิ๋วมากด้วยความสามารถ ในราคาสบายกระเป๋า

TP-Link TL-SG105PE เป็น Switch  ที่มีความเร็ว 5 Port ที่รองรับ Gigabit Ethernet ที่สามารถใช้กับอุปกรณ์ที่มีการถ่ายทอดข้อมูลที่เร็ว และมีการออกแบบให้ใช้งานง่าย ให้ประสิทธิภาพที่ดีในการส่งข้อมูล และการจัดการแบนด์วิดธ์ที่มีประสิทธิภาพสูง นอกจากนี้ยังมีความคงทนทาน มีเสถียรภาพที่ดีในการทำงานตลอดเวลา รวมถึงการรองรับการตรวจจับและป้องกันการโจมตีด้วยระบบการตรวจจับการแฮ็กเกอร์ที่มีประสิทธิภาพด้วย ซึ่งเป็นทางเลือกที่ดีสำหรับผู้ที่ต้องการ Switch  ไว้ใช้งาน ที่เร็วและเสถียรในราคาที่ไม่แพง

คุณสมบัติหลัก

  1. การจัดการกำหนดความสามารถในการแบ่งปันแบนด์วิดธ์ (QoS): ให้ความสามารถในการควบคุมแบนด์วิดธ์เพื่อให้สามารถใช้งานอุปกรณ์แต่ละตัวได้โดยมีประสิทธิภาพสูงสุด
  2. การตรวจจับและป้องกันการติดเชื้อ: รองรับการตรวจจับและป้องกันการติดเชื้อผ่านทางอินเทอร์เน็ต (DoS) เพื่อความปลอดภัยของเครือข่าย
  3. การจัดการพลังงาน: การจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อลดการใช้พลังงานและประหยัดค่าใช้จ่าย
  4. การระบายความร้อน: การออกแบบให้มีการระบายความร้อนที่ดีเพื่อให้เครื่องทำงานอย่างเสถียร
  5. การติดตั้งง่าย: รองรับการติดตั้งและการใช้งานที่ง่ายดายในเครือข่ายที่มีอุปกรณ์เพิ่มเติม

 

TL-SG105PE-

cr: tp-link

รายละเอียดสินค้า

  • 5-Port Gigabit Easy Smart Switch with 4-Port PoE+
  • PORT: 4× Gigabit PoE+ Ports, 1× Gigabit Non-PoE Ports
  • SPEC: 802.3at/af, 65 W PoE Power, Desktop Steel Case
  • FEATURE: PoE Auto Recovery, MTU/Port/Tag-based VLAN, QoS, IGMP Snooping, Web/Utility Management, Plug and Play
  • Five 10/100/1000Mbps RJ45 portsEquipped with four 802.3af/at PoE+ ports with up to 30W for each port, data, and power can be transferred on one single cable

Supports PoE power up to 65 W for all PoE ports*
Provides network monitoring, traffic prioritization, VLAN features, and PoE Auto Recovery
Simple network set-up on top of plug-and-play connectivity
Web-based user interface and Easy Smart Configuration Utility simplify configuration
Fanless design lowers energy consumption and eliminates operating noise

 

การ Config VLAN บนอุปกรณ์ TP-Link Smart Switch TP-SG105PE

ตัวอย่าง
สร้าง Inter-VLAN ที่ Gateway
VLAN 3 ถึง VLAN 14

TP-Link Smart Switch 
Port 1 – 5 Trunk ต่อเข้า Gateway
Port 2  Access VLAN 3 ต่อเข้า PC
Port 3  Access VLAN 6 ต่อเข้า Access Point
Port 4  Access VLAN 9 ต่อเข้า CCTV

** Trunk port เป็น Port ที่สามารถมี Traffic ของหลายๆ VLAN วิ่งผ่านได้ จาก Switch ตัวอื่นๆ ส่วนใหญจะใช้ Trunk Port เป็น Uplink กัน
** Tagged  เป็น  การกำหนด ให้ VLAN ID ไปใช้งานเป็นลักษณะ Trunk Port เมื่อมีไว้ทำอะไรเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่รองรับ ระบบVlan ใช้งาน เช่น Switch ( Tagged Port จะไม่แจก ip หากไม่ถูกใช้งานผ่าน vlan id)
** Untagged เป็น  การกำหนดให้ VLAN ID ไปใช้งานเป็นลักษณะ Access เมื่อมีไว้ทำอะไรเชื่อมต่อไปยังเครื่องปลายทาง เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ workstation นั้น ๆ จะได้รับ IP address ได้ทันที

1. Login เข้าอุปกรณ์ TP-Link Smart Switch

Default IP TP-Link Smart Switch: 192.168.0.1
User/Password: admin/admin

** สามารถแก้ไข IP และ Password ได้ทันทีหลังจากเข้า

Login เข้าอุปกรณ์ TP-Link Smart Switch

รูปที่ 1

 

2.  เข้าหน้า อุปกรณ์ TP-Link Smart Switch

 

TL-SG105PE-2

รูปที่ 2

 

3.  เปลี่ยน IP  Address

TL-SG105PE

รูปที่ 3

 

4. ทำการ Upgrade Firmware

TL-SG105PE-4

รูปที่ 4

 

5. ทำการ Enable VLAN 802.1Q

ไปที่ Menu VLAN /  802.1Q LVAN

ทำการ Enable 802.1Q VLAN Configuration คลิกปุ่ม Apply

 

TL-SG105PE

รูปที่ 5

 

6. กำหนด Port Trunk และ สร้าง VLAN ID

** ข้อกำหนด Port Trunk
Port 1 – 5 Trunk ต่อเข้า Gateway
Port 2  Access VLAN 3 ต่อเข้า PC
Port 3  Access VLAN 6 ต่อเข้า Access Point
Port 4  Access VLAN 9 ต่อเข้า CCTV

กรณี เลือก Tagged Port  
ตรงไปที่  ช่อง VLAN ID ใส่หมายเลข 3  

ช่อง VLAN ID ใส่ชื่อ VLAN ที่ต้องการ เช่น VLAN 4 

จากนั้น Click Enable Column Tagged ที่ Port 1 – Port  5  (Trunk ) คลิกปุ่ม Apply/Modify

กรณี เลือก untagged  Port  

ช่อง VLAN ID ใส่ชื่อ VLAN ที่ต้องการ เช่น VLAN 3  

จากนั้น Click Enable Column Tagged ที่ Port 1 – Port  5   และ Click Enable Column Untagged ที่ Port 2  คลิกปุ่ม Apply/Modify

 

TL-SG105PE

 

รูปที่ 6

7.  กำหนด  VLAN ID

Menu VLAN /  802.1Q PVID Setting

Select Port 3 ใส่ Field PVID 6 หรือ ตามที่กำหนดไว้  คลิกปุ่ม Apply

 

TL-SG105PE

รูปที่ 7

 

8. การเปิดใช้งาน  POE นั้นสามารถเลือก Port ที่จะปล่อย POE  ได้ตามวัตถุประสงค์ได้เลย

 

TL-SG105PE

รูปที่ 8

 

AVESTA  ให้บริการทั้งงานขายระบบ System , Networks  ติดตั้ง อัพเกรด Configure และอื่น ๆ หากท่านมีคำถามสามารถติดต่อเพื่อขอข้อมูลเกี่ยวกับการบริการของเราได้ตลอดเวลา ด้วยประสบการณ์ยาวนานนับสิบปี

วิธีติดตั้งไดร์เวอร์เครื่องพิมพ์สลิป xprinter xp-n160ii สำหรับ Linux แบบง่าย

การติดตั้งไดรเวอร์สำหรับเครื่องพิมพ์ Xprinter บนระบบปฏิบัติการ Linux อาจดูเหมือนเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนสำหรับบางคน แต่ในความเป็นจริงแล้ว มันสามารถทำได้อย่างง่ายดาย ด้วยขั้นตอนที่ชัดเจนและง่ายต่อการติดตาม การเตรียมพร้อมและการติดตั้งที่ถูกต้องจะช่วยให้คุณสามารถใช้เครื่องพิมพ์ Xprinter...

Read more »

Application Security Report 2024

สำหรับบทความนี้เป็นบทความและเรียบเรียงใหม่จาก Cloudflare Application Security Report 2024 ต้องบอกว่า ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมานั้น...

Read more »

Protect your site against SQL Injection with Cloudflare

ในยุคดิจิทัลที่การทำธุรกิจและการสื่อสารผ่านเว็บไซต์เป็นส่วนสำคัญ การป้องกันภัยทางไซเบอร์จึงกลายเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง หนึ่งในภัยคุกคามที่มีการใช้งานมากที่สุดคือ SQL Injection โดยเฉพาะเว็บไซต์ที่สร้างด้วย Wordpress ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในการสร้างเว็บไซต์และบล็อก การโจมตีด้วย SQL...

Read more »

Installing VMware PowerCLI on Ubuntu 22.04 Jammy

PowerCLI คือชุดเครื่องมือภาษาการโปรแกรมในการจัดการอัตโนมัติ (Automation) ที่พัฒนาโดย VMware สำหรับการบริหารจัดการ VMware vSphere และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ...

Read more »

Installing iRedMail on Ubuntu 22.04 Jammy

สำหรับ iRedMail นั้นต้องบอกว่าเป็นระบบ Mail Server บน Linux ที่ดีตัวหนึ่งเลยทีเดียว เพราะว่าฟีเจอร์ครบ เช่น...

Read more »

Upgrading from Ubuntu 20.04 LTS to Ubuntu 22.04 Jammy

แน่นอนว่าการอัพเกรดจะมีประโยชน์อย่างมาก ในการทำให้ระบบของท่านนั้นปลอดภัย งั้นเรามาเริ่มกันเลย สำหรับการอัพเกรด Ubuntu 20.04 ซึ่งออกมานานพอสมควรล่ะ ให้เป็น Ubuntu 22.04...

Read more »