วิธีการติตตั้ง Kali Linux บน VMware vsphere

Published on February 20, 2024
วิธีการติตตั้ง Kali Linux บน VMware vsphere

Kali Linux เป็นระบบปฏิบัติการ Linux ที่พัฒนาขึ้นโดย Offensive Security โดยเฉพาะสำหรับการทดสอบความปลอดภัยและการทดสอบทางไซเบอร์ เป็นเครื่องมือสำหรับแอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่ใช้สำหรับการทดสอบการเจาะระบบ (penetration testing), การวิเคราะห์ความปลอดภัย, การทดสอบเบื้องต้น, และการกิจกรรมที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ กับความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์เครือข่ายของคุณ

Kali Linux มีเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบความปลอดภัย เช่น Nmap (เครื่องมือสำหรับสแกนเครือข่าย), Metasploit (เครื่องมือสำหรับการเจาะระบบ), Wireshark (เครื่องมือสำหรับวิเคราะห์ข้อมูลแพ็กเก็ต), John the Ripper (เครื่องมือสำหรับการแฮ็กรหัสผ่าน), และเครื่องมืออื่น ๆ อีกมากมายที่ช่วยในการทดสอบ การวิเคราะห์ระบบความปลอดภัย

 

คุณสมบัติ

  1. เครื่องมือการทดสอบความปลอดภัย : Kali Linux มาพร้อมกับเครื่องมือที่มีคุณภาพสูงสำหรับการทดสอบความปลอดภัย เช่น Nmap, Metasploit, Wireshark, Aircrack-ng, Burp Suite, Hydra, John the Ripper, sqlmap และอื่น ๆ อีกมากมาย
  2. ระบบสารสนเทศและการวิเคราะห์ : มีเครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล เช่น Maltego, Recon-ng, Maltrail, TheHarvester, OSINT Framework เป็นต้น
  3. เครื่องมือสำหรับทดสอบเว็บแอปพลิเคชัน : Kali Linux มีเครื่องมือที่ช่วยในการทดสอบเว็บแอปพลิเคชันและเว็บไซต์ เช่น OWASP ZAP, Nikto, Skipfish, Wapiti เป็นต้น
  4. เครื่องมือสำหรับการเจาะระบบไร้สาย : มีเครื่องมือที่ช่วยในการทดสอบความปลอดภัยของเครือข่ายไร้สาย เช่น Aircrack-ng, Kismet, Wifite เป็นต้น
  5. สภาพแวดล้อมการทดสอบ : Kali Linux มาพร้อมกับสภาพแวดล้อมที่เหมาะสำหรับการทดสอบ การวิเคราะห์ รวมถึงการตั้งค่าเครือข่าย, เครื่องมือเขียนสคริปต์, และการรองรับอุปกรณ์แบบต่าง ๆ เช่น USB Wi-Fi adapter ที่สามารถใช้ในการทดสอบเครือข่ายไร้สายได้
  6. การอัพเดตและรองรับ : Kali Linux มีการอัพเดตอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้รองรับเครื่องมือและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เพิ่มเข้ามาในสถานการณ์ความปลอดภัย
  7. ความยืดหยุ่นและเปิดเผย : Kali Linux เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่เปิดให้นักพัฒนา ผู้ใช้งานทั่วไปได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาและปรับแต่งตามความต้องการของตนเอง

 

วิธีการติตตั้ง Kali Linux บน VMware vsphere

1. เข้าไปดาวน์โหลด kali linux ตามลิงค์  https://www.kali.org/get-kali/#kali-platforms  เลือกไฟล์ .iso  หรือแบบไฟล์ Install Images หรือเรียกว่า Pre-built Virtual Machines คือไม่ต้องติดตั้ง import เข้าระบบใช้งานได้ทันที สามารถเลือกโหลดเป็นแบบ 64 bit หรือ 32 bit ซึ่งไฟล์ค่อนข้างมีขนาดใหญ่ อาจใช้เวลาในการดาวน์โหลด ในที่นี่จะโหลดแบบ (Virtual Machines) คือไฟล์ .iso นั่นเอง เพื่อจะแสดงการติดตั้งตามที่เรากำหนดเอง

 

kali

ภาพที่ 1 (ที่มา kali.org )

 

2. เปิด VMware vsphere เพื่อสร้าง Virtual Machines เลือก Create a new virtual machine จากนั้นคลิก Next

kali

ภาพที่ 2

 

3.  ตั้งชื่อ Virtual Machines และเลือก OS ให้ Compatibility  จากนั้นคลิก Next

kali

ภาพที่ 3

 

3. เลือก Storage จากนั้นคลิก Next

kali

ภาพที่ 4

 

5. ตั้งค่าสเปก เช่น cpu, ram, hdd, network และทำการเลือกไฟล์ ISO ที่เราโหลดไว้  ดังรูปที่ 6 จากนั้นคลิก Next

kali

ภาพที่ 5

 

6.  ให้ทำการอัพโหลดไฟล์ ISO เพื่อนำไปใช้งาน จากนั้นคลิก Select

kali

ภาพที่ 6

 

7.  ภาพรวมข้อมูล Virtual Machines พร้อมสำหรับติดตั้ง  kali linux  จากนั้นคลิก Finish  แล้วทำการคลิกปุ่ม Power on

kali

ภาพที่ 7

 

8.  เลือก แบบที่ต้องการว่าจะลงแบบไหน ในที่นี่จะเลือกลงแบบ Graphical install จากนั้นเคาะ Enter

kali

ภาพที่ 8

 

9. หน้า Select a language เลือก English  จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 9

 

10. หน้า Select you location เลือก English  จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 10

 

11. หน้า Configure the keyboard เลือก American English  จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 11

12.  หน้า  Configure the network   จากนั้นคลิก Continue (กรณี fixed IP  )

kali

ภาพที่ 12

13.  หน้า  Configure the network   เลือก Configure network manually จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 13

14.  หน้า  Configure the network   กรอก IP address  จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 14

15.  หน้า  Configure the network   กรอก Netmask  จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 15

16.  หน้า  Configure the network   กรอก Gateway จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 16

17.  หน้า  Configure the network   กรอก Name server address จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 17

 

18.  หน้า  Configure the network   ตั้งชื่อ Hostname จากนั้นคลิก Continue (กรณี DHCP IP ) จะอยู่ขั้นตอนนี้

kali

ภาพที่ 18

 

19. หน้า  Setup user and passwords   ตั้งชื่อ fullname จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 19

 

20. หน้า  Setup user and passwords   ตั้งชื่อ Username จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 20

 

21. หน้า  Setup user and passwords   ตั้งชื่อ Password จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 21

22. หน้า   Configure the clock  เลือก Eastern หรือที่เราต้องการ  จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 22

 

23.  หน้า Partition disks  เลือก Guided – use entire disk หรือที่เราต้องการ  จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 23

24. หน้า Partition disks  เลือก SCSI3   จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 24

 

25. หน้า Partition disks  เลือก All files in one partition (recommended for new users) จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 25

 

26. หน้า Partition disks  เลือก Finish partitioning and write changes to disk จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 26

27. หน้า Partition disks  เลือก Yes จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 27

28. ระบบกำลังติดตั้ง

kali

ภาพที่ 28

 

29. หน้า Software selection   จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 29

 

30. ระบบกำลังติดตั้ง

kali

ภาพที่ 30

31. หน้า Install the GRUB boot loader  เลือก Yes จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 31

32. หน้า Install the GRUB boot loader  เลือก /dev/sda จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 32

 

33. ระบบกำลังติดตั้ง

kali

ภาพที่ 33

 

34. ติดตั้งเรียบร้อย จากนั้นคลิก Continue

kali

ภาพที่ 34

35. ระบบกำลัง reboot

kali

ภาพที่ 35

 

36. หน้า Login kali ให้เรากรอก username password ที่เรากรอกไว้ข้างต้น จากนั้นคลิกปุ่ม Login

kali

ภาพที่ 36

 

37. เข้าสู่  kali linux Server

kali

ภาพที่ 37

เพียงเท่านี้ก็เรียบร้อย จากนั้นอย่าลืมติดตั้งไดว์เวอร์  vmware ด้วย สำหรับคำสั่ง sudo apt-get install open-vm-tools  แล้ว reboot  จากนั้นพร้อมใช้งาน kali linux

 

AVESTA ให้บริการทั้งงานขายระบบ System , Networks ติดตั้ง อัพเกรด Configure และอื่น ๆ หากท่านมีคำถามสามารถติดต่อเพื่อขอข้อมูลเกี่ยวกับการบริการของเราได้ตลอดเวลา ด้วยประสบการณ์ยาวนานนับสิบปีปรึกษาเราวันนี้ ที่อีเมล์ [email protected] หรือ LINE ID : @avesta.co.th หรือเบอร์โทร +66(0)45-959-612

 

Creating Proxmox VE Cluster

สำหรับ Proxmox VE นั้นแน่นอนว่าสนับสนุนการทำ Clustering ในตัวอยู่แล้วเพื่อทำให้ระบบมี การจัดการทรัพยากรของเซิร์ฟเวอร์หลายเครื่องได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพิ่มความสามารถในการสำรองข้อมูล, การย้ายเครื่องเสมือน (VM)...

Read more »

Updating ML30 Gen10 Firmware with ILOREST

แน่นอนว่าการอัพเดท firmware ของทั้ง BIOS และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดใน Server นั้นเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะว่า เพื่อความปลอดภัย และ...

Read more »

Switches เดสก์ท็อปสวิตช์ 10/100Mbps 10 ช่อง

แนะนำอุปกรณ์ใหม่ มาแรง ใช้งานง่าย! Switches อุปกรณ์ต่อพ่วง Network Computer เดสก์ท็อปสวิตช์ 10/100Mbps 10...

Read more »

how to apply license key on a Proxmox VE host

สำหรับวันนี้ เราจะมาสอนเรื่องการ Activate License Key สำหรับ Proxmox VE กัน ซึ่งแน่นอนว่า...

Read more »

configuring multiple VLANs in Proxmox VE

การกำหนด VLAN หลายตัว (Multiple VLAN) ใน Proxmox VE สำหรับการกำหนด VLAN...

Read more »

Verifying Files with MD5 Checksum

สำหรับการตรวจสอบความถูกต้องหรือความสมบูรณ์ของไฟล์เนี่ย ได้ทวีความสำคัญขึ้นมากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา เพราะภัยทางอินเตอร์เน็ตนั้นเยอะขึ้นมาก เพราะฉะนั้นหากคุณดาวน์โหลดไฟล์แล้วไม่ตรวจสอบค่า checksum เพื่อยืนยันความถูกต้องของผู้ผลิตไฟล์อีกที มันก็จะเป็นการเสี่ยงที่ท่านจะได้ไฟล์ซึ่งอาจจะมีโปรแกรมหรือสิ่งไม่พึงประสงค์ไปด้วย และ เทคโนโลยีในการตรวจสอบไฟล์นั้น ก็คือ...

Read more »